|
|
|
ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านพร้าว จะสร้างที่อยู่อาศัยในพื้นที่ตนเอง บางกลุ่มจะอยู่ตามชายเขา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และยังมีศาสนาอื่นๆ อีกบางส่วน ประชาชาชนมีความรักใคร่ สามัคคีกลมเกลียวกัน นอกจากนี้ประชาชน |
|
|
ในตำบลทุกคน ก็ยังมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ปฏิบัติตนตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |
|
|
 |
 |
|
การนับถือศาสนา |

 |
ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 |

 |
ผู้ที่นับถือศาสนาคริตส์ ร้อยละ 1 |
ศาสนสถานในตำบล |

 |
วัด |
จำนวน |
5 |
แห่ง |

 |
สำนักสงฆ์ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
 |
 |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
จำนวน 1 แห่ง |
|
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว |
|
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |

 |
คลินิกเอกชน จำนวน 1 แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
ศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลบ้านพร้าว มีระดับ/ลักษณะของการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาก่อนวัยเรียน (ปฐมวัย) การศึกษาระดับประถมศึกษา การศึกษาขยายโอกาส (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) และการศึกษานอกระบบ ดังนี้ |
|
|
|
การศึกษาก่อนวัยเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) จำนวน 3 ศูนย์ |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าซ่าน |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพร้าว |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านห้วยทรายทอง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 |
|
การศึกษาระดับประถมศึกษา การศึกษาขยายโอกาส จำนวน 5 แห่ง |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองกระดาษ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |

 |
โรงเรียนบ้านป่าซ่าน |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |
|

 |
โรงเรียนบ้านพร้าว |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 |

 |
โรงเรียนบ้านห้วยทรายทอง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 |
|

 |
โรงเรียนบ้านน้ำคลาด |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 |
|
|
|
|
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 1 แห่ง |
|

 |
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตำบลบ้านพร้าว |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |
|
|
 |
 |
|
ประเพณีและงานประจำปี |

 |
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม |

 |
ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน |

 |
ประเพณีวันเข้าพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม |

 |
ประเพณีวันออกพรรษา ประมาณเดือน ตุลาคม, พฤศจิกายน |

 |
ประเพณีประสาทผึ้ง ประมาณเดือน ตุลาคม |

 |
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประมาณเดือน ตุลาคม |

 |
ประเพณีปักธงผาขี่ควาย ประมาณเดือน พฤศจิกายน |

 |
ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน พฤศจิกายน |
|
|
 |
 |
|

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตตำบลบ้านพร้าว ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน ผ้าทอมัดหมี่ สิ่งประดิษฐ์ทำด้วยผักตบชวา สิ่งประดิษฐ์ทำด้วยตอไม้ |

 |
ภาษาถิ่น ส่วนมากร้อยละ 95 พูดภาษากลาง |
|
|
|
|